อัลกุรอานคำต่อคำ : สูเราะฮฺที่ 114 อันนาส
อัลกุรอาน : คำต่อคำ
สูเราะฮฺที่ 114 : อันนาส
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
********************
สนับสนุนการทำงานของ GenFa ได้ที่ :
ธนาคารกสิกรไทย สาขานราธิวาส
เลขที่บัญชี 046-3-94417-2
ชื่อบัญชี นายอุสมาน เจะอุมา
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 114 : อันนาส
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 113 : อัลฟะลัก
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 112 : อัลอิคลาศ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 111 : อัลมะสัด
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 110 : อันนัศรฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 109 : อัลกาฟิรูน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 108 : อัลเกาษัร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 107 : อัลมาอูน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 106 : กุร็อยชฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 105 : อัลฟีล
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 104 : อัลฮุมะซะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 103 : อัลอัศรฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 102 : อัตตะกาษุร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 101 : อัลกอริอะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 100 : อัลอาดิยาต
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 99 : อัซซัลซะละฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 98 : อัลบัยยินะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 97 : อัลเกาะดัร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 96 : อัลอะลัก
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 95 : อัตตีน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 94 : อัชชัรหฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 93 : อัฎฎุฮา
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 92 : อัลลัยลฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 91 : อัชชัมสฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 90 : อัลบะลัด
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 89 : อัลฟัจรฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 88 : อัลฆอชิยะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 87 : อัลอะอฺลา
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 86 : อัฏฏอริก
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 85 : อัลบุรูจญ์
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 84 : อัลอินชิก็อก
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 83 : อัลมุฏ็อฟฟิฟีน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 82 : อัลอินฟิฏ็อร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 81 : อัตตักวีร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 80 : อะบะสะ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 79 : อัลนาซิอาต
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 78 : อันนะบะอ์
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 77 : อัลมุรสะลาต
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 76 : อัลอินซาน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 75 : อัลกิยามะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 74 : อัลมุดดัษษิร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 73 : อัลมุซซัมมิล
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 72 : อัลญินนฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 70 : อัลมะอาริจญ์
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 69 : อัลหากเกาะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 68 : อัลเกาะลัม
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 67 : อัลมุลกฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 66 : อัตตะหฺรีม
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 65 : อัฏเฏาะลาก
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 64 : อัตตะฆอบุน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 63 : อัลมุนาฟิกูน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 62 : อัลญุมุอะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 61 : อัศศ็อฟ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 60 : อัลมุมตะหะนะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 59 : อัลหัชรฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 58 : อัลมุญาดะละฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 57 : อัลหะดีด
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 56 : อัลวากิอะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 55 : อัรเราะหฺมาน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 54 : อัลเกาะมัร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 53 : อันนัจมฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 51 : อัซซาริยาต
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 49 : อัลหุญุร็อต
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 48 : อัลฟัตหฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 47 : มุฮัมหมัด
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 46 : อัลอะหฺก็อฟ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 45 : อัลญาษิยะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 44 : อัดดุคอน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 43 : อัซซุครุฟ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 42 : อัชชูรอ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 41 : ฟุศศิลัต
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 39 : อัซซุมัร
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 37 : อัศศ็อฟฟาต
วันนี้โลกอิสลามได้สูญเสียหนึ่งในผู้รู้นักหะดีษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลคือ “อิมามอัลบุคอรีย์” หรือชื่อจริงคือ “มุฮัมหมัด บินอิสมาอีล บินอิบรอฮีม บินอัลมุฆีเราะฮฺ บินบัรดิซบะฮฺ”
ท่านคือผู้นำของผู้ศรัทธาในเรื่องหะดีษ เป็นผู้เรียบเรียงหนังสือที่ถูกต้องที่สุดรองจากอัลกุรอาน คือ “เศาะฮีหฺ อัลบุคอรีย์”
โดยท่านเสียชีวิตในช่วงเวลาอิชาอ์ คืนวันเสาร์ ที่ 30 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.256 แต่บ้างก็บอกว่าตรงกับคืนอีดิลฟิฏรีย์ 1 เชาวาล ปี ฮ.ศ.256
ศึกษาประวัติของอิมามอัลบุคอรีย์เพิ่มเติมได้ในรายการ Muslim Heroes SS1 ลิงค์ https://dowhite.co/CswQ
วันที่ 29 เราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.719 ผู้แทนของ “สุลต่านมุฮัมหมัด บินเกาะลาวูน” ได้อ่านจดหมายต่อหน้าสาธารณชน เป็นคำสั่งห้ามมิให้อิมามอิบนุตัยมิยฺยะฮฺทำการฟัตวาในเรื่องการหย่าร้าง
เนื่องจากท่านยึดมั่นว่า การกล่าวคำหย่าร้าง 3 ครั้ง ให้ผลเท่ากับ 1 ครั้ง ซึ่งค้านกับความเห็นที่สุลต่านยึดถือ
กระทั่งในเดือนเราะญับ ปี ฮ.ศ.720 ท่านก็ถูกสั่งจำคุกนาน 5 เดือน 18 วัน และได้รับปล่อยตัวในวันที่ 10 เดือนมุหัรร็อม ปี ฮ.ศ.721
วันที่ 28 เราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.2 “ซะกาตฟิฏเราะฮฺ” ได้ถูกบัญญัติขึ้นเป็นครั้งแรก มันคือบทบัญญัติที่เป็นเอกลักษณ์สำคัญของชาวมุสลิมที่มาพร้อมกับ “เดือนเราะมะฎอน” และ “อีดฟิฏรีย์”
โดยในวันนั้นท่านนบีได้กล่าวคุฏบะฮฺเพื่อสอนวิธีจ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺแก่บรรดาเศาะหาบะฮฺ และกำหนดให้จ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺเป็น 1 ศออ์ของอินทผลัม หรือข้าวบาร์เล่ย์ หรือลูกเกด หรือแป้งสาลี (หมายถึง อาหารพื้นถิ่น) และจ่ายให้เรียบร้อยก่อน “ละหมาดสุนนะฮฺอีดิลฟิฏรีย์”
วันที่ 27 เราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.65 “อับดุลมะลิก บินมัรวาน” ได้ขึ้นเป็นเคาะลีฟะฮฺคนที่ 5 ของราชวงศ์อุมัยยะฮฺ
เขาคือหนึ่งในเคาะลีฟะฮฺที่ยิ่งใหญ่ของราชวงศ์อุมัยยะฮฺ เขาทั้งฉลาด มีความรู้ และขยันอิบาดะฮฺ ท่านมุอาวิยะฮฺ บินอบีสุฟยาน เคยแต่งตั้งให้เขาปกครองเมืองมะดีนะฮฺตั้งแต่อายุ 16 ปี และเป็นหนึ่งในผู้รู้คนสำคัญของเมืองมะดีนะฮฺก่อนจะกลายเป็นเคาะลีฟะฮฺ
อับดุลมะลิกปกครองนาน 20 ปี สร้างความเข้มแข็งและขยายอาณาจักรอิสลามให้กว้างขวางขึ้นกระทั่งเสียชีวิตลงในปี ฮ.ศ.86
ศึกษาประวัติของอับดุลมะลิก บินมัรวาน เพิ่มเติมได้จากรายการ Muslim Heroes SS2 ลิงค์ https://dowhite.co/b6Mk
วันที่ 26 เราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.9 ตรงกับวันที่ 5 มกราคม ปี ค.ศ.631 ท่านนบีและกองทัพมุสลิมกลับมาถึงเมืองมะดีนะฮฺหลังจากออกไปทำ “สงครามตะบู๊ก”
ท่านนบีได้เข้าไปในมัสญิดและละหมาดสุนนะฮฺ แล้วพวกมุนาฟิกีนที่ไม่ได้เข้าร่วมสงครามก็เข้ามาหาท่านเพื่ออ้างเหตุผลที่พวกเขาไม่เข้าร่วม พร้อมกับขอให้ท่านอภัยโทษให้
กระทั่งเกิดเหตุการณ์บอยคอตเศาะหาบะฮฺ 3 ท่าน คือท่านกะอบฺ บินมาลิก และเพื่อนอีก 2 คน ตามที่อัลกุรอานได้เล่าเอาไว้ใน “สูเราะฮฺอัตเตาบะฮฺ”
เมื่อท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม พิชิตเมืองมักกะฮฺได้สำเร็จในวันที่ 20 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.8 ในวันที่ 25 ของเดือนเดียวกัน ซึ่งตรงกับวันที่ 15 เดือนมกราคม ปี ค.ศ.630 ท่านเราะสูลก็ได้สั่งการให้ “ท่านคอลิด บินอัลวะลีด” ไปทำลายเจว็ดอุซซาที่ชาวกุร็อยชฺ กินานะฮฺ และมุฎ็อร กราบไหว้บูชา
ท่านคอลิดได้ทำลายอาคารที่อยู่และเจว็ดอุซซา พร้อมกับสังหารผู้หญิงผิวดำผมยุ่งคนหนึ่ง ซึ่งท่านนบีบอกว่า “นั่นคืออุซซา และมันจะไม่ถูกกราบไหว้บูชาอีกต่อไป”
วันที่ 24 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.220 “อิมามอะหมัด บินหัมบัล” ซึ่งถูกจำคุกในคดีปฏิเสธที่จะให้การยืนยันว่า “อัลกุรอานคือมัคลูก (สิ่งถูกสร้าง)” ตามความเชื่อของพวกมุอฺตะซิละฮที่หลงผิด
อิบนุลมุนาดีย์รายงานว่า อิมามอะหมัดถูกเฆี่ยนด้วยแส้ 37 ครั้ง จนกระทั่งท่านเป็นลมหมดสติไป โดยที่เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่เมืองอัสสะลาม (ในแบกแดด) ในวังของเคาะลีฟะฮฺอัลมุอฺตะศิม และเกิดขึ้นในวันพุธ 6 วันก่อนที่เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.220 จะสิ้นสุดลง
ศึกษาประวัติของอิมามอะหมัดเพิ่มเติมได้จากรายการ Muslim Heroes SS1 ลิงค์ https://dowhite.co/zjFs
วันที่ 23 เดือนเราะมะฎอน ในช่วงท้ายของชีวิตท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ท่านได้ออกไปละหมาดกลางคืน (กิยามุลลัยลฺ) ที่มัสญิด โดยมีบรรดาเศาะหาบะฮฺร่วมละหมาดกับท่านด้วย
นั่นคือการละหมาดกลางคืน หรือ “กิยามุลลัยลฺ” หรือ “ละหมาดตะรอวีหฺ” เป็นญะมาอะฮฺครั้งแรกในอิสลาม แต่ในตอนนั้นท่านนบีละหมาดติดต่อกันเพียง 3 คืนเท่านั้น เนื่องจากท่านเกรงว่า มันจะถูกบัญญัติเป็นฟัรฎู แล้วกลายเป็นภาระหนักแก่อุมมะฮฺของท่าน
วันที่ 22 เราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.277 ตรงกับวันที่ 7 มกราคม ปี ค.ศ.891 คือวันที่ “อับดุรเราะหฺมาน อันนาศิร” ผู้นำคนที่ 8 ของราชวงศ์อุมัยยะฮฺในอันดะลุสถือกำเนิดขึ้นมา
เขาคือผู้นำคนแรกที่เรียกตัวเองว่า “อะมีรุลมุอ์มินีน” และเป็นผู้นำอุมัยยะฮฺในอันดะลุสคนแรกที่ประกาศตนเป็น “เคาะลีฟะฮฺ” ของประชาชาติอิสลามด้วย
อับดุรเราะหฺมานปกครองนานถึง 50 ปี ในฐานะอะมีรและเคาะลีฟะฮ และถือเป็นช่วงเวลาที่รุ่งเรืองที่สุดของราชวงศ์อุมัยยะฮฺในอันดะลุส
วันที่ 21 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.214 คือวันเสียชีวิตของ “อิมามอับดุลลอฮฺ บินอับดุลหะกัม บินอะอฺยุน บินลัยษฺ” ท่านคือ 1 ในลูกศิษย์คนสำคัญของ “อิมามมาลิก” เป็นคนดี ซื่อสัตย์ มีความรู้ความสามารถ และน่าเชื่อถือ และเป็นคนที่ทำให้ “มัซฮับมาลิกีย์” มีอิทธิพลแพร่หลายในแผ่นดินอียิปต์
ท่านอับดุลลอฮฺยังเป็นเพื่อนสนิทคนหนึ่งของ “อิมามอัชชาฟิอีย์” และหนังสือที่สำคัญเล่มหนึ่งของท่านคือ “อัลมุคตะศ็อร อัศเศาะฆีร”โดยเป็นการย่อมาจากหนังสือ “อัลมุวัฏเฏาะอ์” ของอิมามมาลิก
เมื่อชาวกุร็อยชฺละเมิดสัญญาที่เคยให้ไว้กับท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ในวันหุดัยบิยะฮฺ ด้วยการช่วยเหลือและสนับสนุนตระกูลบักรฺในการโจมตีตระกูลคุซาอะฮฺ ซึ่งเป็นพันธมิตรกับอิสลาม
ท่านนบีจึงได้จัดกองทัพขนาดใหญ่กว่า 10,000 คน และเข้าพิชิตเมืองมักกะฮฺในที่สุด โดยท่านได้เข้าไปในเขตมัสญิดหะรอมในวันที่ 20 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.8 ถือเป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่และเป็นชัยชนะที่ชัดเจนตามที่อัลกุรอานได้แจ้งไว้ก่อนแล้วในสูเราะฮฺอัลฟัตหฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 34 : สะบะอ์
วันที่ 19 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.587 ตรงกับวันที่ 10 พฤศจิกายน ปี ค.ศ.1191 คือวันที่กษัตริย์อัลมุซ็อฟฟัรแห่งราชวงศ์อัยยูบิยยะฮฺเสียชีวิต
ชื่อเต็มคือ “ตะกิยฺยุดดีน อุมัร บินชาฮันชาฮฺ บินอัยยูบ” โดยมีศักดิ์เป็นหลานชายของสุลต่าน “เศาะลาหุดดีน อัลอัยยูบีย์” และเป็นหนึ่งในอะมีรหรือผู้ปกครองเมืองในยุคราชวงศ์อัยยูบิยยะฮฺ
สุลต่านเศาะลาหุดดีนได้มอบหมายงานที่อียิปต์และเมืองอื่น ๆ ให้กับเขา จากนั้นก็ได้แต่งตั้งให้เป็นผู้ปกครองเมืองหะมาฮฺและอื่น ๆ ในแผ่นดินชาม
วันที่ 18 เดือนเราะมฎอน ปี ฮ.ศ.21 ตรงกับวันที่ 20 เดือนสิงหาคม ปี ค.ศ.642 คือวันที่ดาบของอัลลอฮฺถูกเก็บเข้าฝัก เนื่องจากเป็นวันที่ “ท่านคอลิด บินอัลวะลีด” ผู้ได้ฉายาว่าเป็น “ดาบของอัลลอฮฺ” ได้เสียชีวิตลงอย่างสงบที่บ้านของท่าน
ท่านคอลิดเข้ารับอิสลามในปี ฮ.ศ.7 และต่อสู้ในกองทัพอิสลามตลอดช่วงที่ท่านนบียังมีชีวิตอยู่ ทั้งในสงครามพิชิตค็อยบัร, สงครามมุอ์ตะฮฺ, การพิชิตมักกะฮฺ, สงครามหุนัยนฺ, และสงครามตะบู๊ก ท่านคือผู้ทำลายเจว็ดอุซซา และเป็นแม่ทัพคนสำคัญที่ทำให้อิสลามสามารถพิชิตเปอร์เซียและโรมันได้สำเร็จ
วันที่ 17 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.2 ตรงกับวันที่ 3 เดือน มีนาคม ปี ค.ศ.623 ได้เกิดสงครามครั้งแรกระหว่างชาวมุสลิมซึ่งนำโดยท่านเราะสูลุลลอฮฺ กับชาวกุร็อยชฺที่นำโดยอบูญะฮลฺ โดยเรียกศึกในครั้งนี้ว่า “สงครามบัดรฺใหญ่” หรือ “สงครามบัดรฺ ครั้งที่ 1”
แม้ชาวมุสลิมจะมีกำลังพลและอาวุธที่ด้อยกว่า เนื่องจากไม่ได้ตั้งใจมารบตั้งแต่แรก แต่ก็สามารถเอาชนะศัตรูมาได้สำเร็จ อีกทั้งยังสามารถสังหารแกนนำของชาวกุร็อยชฺไปได้หลายคน รวมถึงอบูญะฮลฺ
วันที่ 16 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.762 ตรงกับวันที่ 20 กรกฎาคม ปี ค.ศ.1361 “อบูมุฮัมหมัด บัดรุดดีน มะหฺมูด บินอะหฺมัด อัลอัยนีย์” หรือที่รู้จักในชื่ออิมาม “บัดรุดดีน อัลอัยนีย์” ได้ถือกำเนิดขึ้นมา
ท่านเป็นผู้รู้ที่มีชื่อเสียงอย่างมาก เป็นนักประวัติศาสตร์แนวหน้า และผู้พิพากษาที่ยิ่งใหญ่ ท่านได้เขียนหนังสืออธิบายหนังสือเศาะฮีหฺของอิมามอัลบุคอรีย์ และกลายเป็นชุดหนังสือที่สำคัญในวิชาหะดีษ คือหนังสือ “อุมดะตุล กอรีย์ ชัรหุ เศาะฮีหุล บุคอรีย์”
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 33 : อัลอะหฺซาบ
วันที่ 15 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.3 หลายชายสุดที่รักของท่านนบีมุฮัมหมัดได้ถือกำเนิดขึ้นมา คือ “ท่านอัลหะสัน” ลูกชายของ “ท่านอลี บินอบีฏอลิบ” กับ “ท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ” ท่านนบีเคยกล่าวว่า “หลายชายคนนี้ของฉันจะกลายเป็นผู้นำ และหวังว่าอัลลอฮฺทรงจะทรงคุ้มครองเขา กระทั่งสามารถประนีประนอมระหว่าง 2 กลุ่มใหญ่ของชาวมุสลิมได้สำเร็จ”
แล้วเหตุการณ์ดังกล่าวก็เกิดขึ้นจริงในปี ฮ.ศ.41 โดยท่านอัลหะสันได้สละตำแหน่งเคาะลีฟะฮฺ และให้ “ท่านมุอาวิยะฮฺ” เป็นเคาะลีฟะฮฺคนใหม่ของประชาชาติอิสลามแทน
วันที่ 14 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.68 อัลมุคตาร บินอบูอุบัยดฺ อัษษะเกาะฟีย์ ผู้อ้างตนเป็นนบีถูกสังหาร โดยมุศอับ บินอัซซุบัยรฺ อัลมุคตารเป็นพี่น้องกับเศาะฟิยยะฮฺ ภรรยาของท่านอิบนุอุมัร แต่เขาออกมาต่อต้านการปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮฺ รวมถึงในยุคการปกครองของท่านอับดุลลอฮฺ บินอัซซุบัยรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺ ด้วย
อัลมุคตารมีอำนาจในเมืองกูฟะฮฺ กระทั่งเกิดสงครามกันที่อัลมะซาร ตามด้วยการปิดล้อมเมืองกูฟะฮฺเป็นเวลา 4 เดือน จนในที่สุดอัลมุคตารก็ถูกสังหาร
วันที่ 13 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.15 ตรงกับวันที่ 18 เดือนตุลาคม ปี ค.ศ.636 ท่านอะมีรุลมุอ์มินีน “อุมัร บินอัลค็อฏฏ็อบ” เดินทางมาถึงปาเลสไตน์ หลังจากที่กองทัพอิสลามสามารถพิชิตเมืองและพื้นที่ต่าง ๆ ในแผ่นดินชามได้สำเร็จ
ท่านอุมัรได้รับมอบกุญแจเมืองอัลอักศอจาก “บาทหลวงโซโฟรเนียส” และได้ทำสนธิสัญญาชื่อ “อัลอะฮฺดุล อุมะริยฺยะฮฺ” โดยรับรองความปลอดภัยให้กับชีวิตและทรัพย์สินของชาวเมือง (ทั้งคริสต์และยิว)
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 32 : อัสสัจดะฮฺ
วันที่ 12 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.597 คือวันเสียชีวิตของอิมามอิบนุลเญาซีย์ ชื่อเต็มคือ “อบุลฟะร็อจญ์ อับดุรเราะหฺมาน บินอลี บินมุฮัมหมัด อัลกุเราะชีย์” ท่านคือผู้รู้นักนิติศาสตร์ในมัซฮับหัมบะลีย์ เป็นนักหะดีษ นักตัฟสีร และนักประวัติศาสตร์ที่มีความรู้กว้างขวาง อีกทั้งยังเป็นนักพูดที่เก่งกาจด้วย
ท่านมีงานเขียนและคำตักเตือนที่ซาบซึ้งมากมาย ขณะอยู่ที่แบกแดดมีผู้เข้าร่วมฟังบรรยายของท่านมากกว่า 50,000 คน บางครั้งก็มากถึง 100,000 คน โดยมีเคาะลีฟะฮฺอัลมุสตะฎีอ์ แห่งราชวงศ์อับบาสิยฺยะฮฺร่วมรับฟังด้วย
วันที่ 11 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.95 ตรงกับปี ค.ศ.714 “สะอีด บินญุบัยรฺ” ถูกตัดสินประหารชีวิตโดย “อัลหัจญาจญ์ บินยูสุฟ อัษษะเกาะฟีย์” ผู้ปกครองแคว้นอิรัก ท่านคือตาบิอีนที่เรียนรู้ศาสนามาจากท่านอิบนุอับบาส ท่านอิบนุอุมัร และท่านหญิงอาอิชะฮฺ และกลายเป็นผู้รู้ที่มีชื่อเสียง และกล้าหาญมาก
ท่านเข้าร่วมกับ “อิบนุลอัชอัษ” เพื่อต่อต้านการปกครองที่อธรรมของอัลหัจญาจญ์ กระทั่งถูกจับกุมและประหารชีวิตในที่สุด
ศึกษาประวัติของท่านเพิ่มเติมได้จากรายการ Muslim Heroes SS2 ลิงค์ https://dowhite.co/Kfu1
วันที่ 10 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.485 ตรงกับวันที่ 13 ตุลาคม ปี ค.ศ.1092 “นิซอม อัลมุลกฺ” รัฐมนตรีใหญ่แห่งราชวงศ์ซัลญูก (เซลจุค) ถูกสมาชิกกลุ่มอิสมาอีลิยยะฮฺ หรือ “พวกหัชชาชีน” (แอสซาสซิน) ลอบสังหารเสียชีวิตที่เมืองอัศบะหาน (ในอิหร่านปัจจุบัน)
“นิซอม อัลมุลกฺ” เป็นรัฐมนตรีที่มีชื่อเสียงที่สุดของราชวงศ์ซัลญูก เป็นที่ปรึกษาคนสำคัญของ “สุลต่านอัลบฺ อัรสะลาน” และ “สุลต่านมะลิกชาฮฺ” และเป็นผู้ก่อตั้งสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลกอิสลามคือ “มัดเราะสะฮฺ นิซอมิยยะฮฺ”
วันที่ 9 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.114 ตรงกับเดือนตุลาคม ปี ค.ศ.732 ได้เกิดศึกใหญ่ที่บริเวณเมืองตูรและปัวติเยร์ (ในฝรั่งเศส) ระหว่างชาวแฟรงค์ ภายใต้บัญชาการของ “ชาร์ลส์ มาร์เตล” กับกองทัพอิสลามภายใต้การนำของ “อับดุรเราะหฺมาน อัลฆอฟิกีย์” โดยที่กองทัพมุสลิมเป็นฝ่ายพ่ายแพ้
ศึกครั้งนี้ถูกเรียกในภาษาอาหรับว่า “บะลาฏ อัชชุฮะดาอ์” เนื่องจากมีชาวมุสลิมจำนวนมากถูกฆ่าตาย รวมถึงอัลฆอฟิกีย์เอง
วันที่ 8 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.9 กองทัพอิสลามจำนวน 30,000 นาย ซึ่งนำโดยท่านเราะสูลุลลอฮฺ (ในวัย 61 ปี) มีชัยชนะเหนือกองทัพโรมันไบแซนไทน์ที่มีขนาดใหญ่กว่า เมื่ออยู่ ๆ พวกเขาก็ถอยทัพกลับโดยไม่ได้มีการต่อสู้ใด ๆ เกิดขึ้น
ชัยชนะในครั้งนี้ทำให้ชนเผ่าและตระกูลอาหรับต่าง ๆ บริเวณเขตแดนของคาบสมุทรอาหรับหันมาสวามิภักดิ์อยู่ภายใต้รัฐมะดีนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม
วันที่ 7 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.960 ตรงกับวันที่ 17 สิงหาคม ปี ค.ศ.1553 “ตุรกูต เบก” หรือ “ตุรกูต ร็อยสฺ” แม่ทัพเรือใหญ่แห่งออตโตมัน (อุษมานิยฺยะฮฺ) เจ้าของฉายา “ราชาผู้ไร้บัลลังก์แห่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน”
สามารถพิชิตเกาะคอร์ซิกาและเมืองคาตาเนียบนเกาะใหญ่แคว้นซิซิลี (อิตาลี) ได้สำเร็จ ช่วยชาวมุสลิมอันดาลุส (สเปน) กว่า 700 หรือ 7,000 ชีวิตที่ถูกจับกุมออกมาได้
วันที่ 6 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.223 เมืองอะมูริยฺยะฮฺ ภายใต้จักรวรรดิโรมันไบแซนไทน์ถูกพิชิต โดยกองทัพของ “เคาะลีฟะฮฺอัลมุอฺตะศิม” แห่งราชวงศ์อับบาสิยฺยะฮฺ
ถือเป็นหนึ่งในการต่อสู้ที่สำคัญของชาวมุสลิมกับโรมันไบแซนไทน์ เพื่อตอบโต้กลับการรุกรานของ “จักรพรรดิธีโอฟีโลส” บนพรมแดนมาลัตยาและซับฏิเราะฮฺ (ในตุรกีปัจจุบัน)
หญิงมุสลิมคนหนึ่งได้ร้องตะโกนเพื่อขอความช่วยเหลือว่า “วามุอฺตะศิมาฮฺ วามุอฺตะศิมาฮฺ” (มุอฺตะศิมช่วยด้วย ๆ)
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 31 : ลุกมาน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 30 : อัรรูม
วันที่ 5 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.666 ตรงกับวันที่ 19 พฤษภาคม ปี ค.ศ.1268 ชาวมุสลิมภายใต้การนำของ “สุลต่านอัซซอฮิร บัยบะร็อส” (หรือกษัตริย์ไบบาร์ส) แห่งราชวงศ์มัมลูก สามารถพิชิตเมืองอันฏอกิยฺยะฮฺ (อันทาเคีย) คืนมาจากครูเสดได้สำเร็จ
หลังจากที่ตกอยู่ในมือของพวกเขามานาน 170 ปี ถือเป็นชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ของชาวมุสลิมหลังจากที่ “สุลต่านเศาะลาหุดดีน อัลอัยยูบีย์” สามารถพิชิตแผ่นดินอักศอกลับมาได้ในศึกหิฏฏีน ปี ฮ.ศ.583 ตรงกับปี ค.ศ.1187
วันที่ 4 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.454 ตรงกับปี ค.ศ.1062 อิมามและนักหะดีษท่านหนึ่งได้ถือกำเนิดขึ้นคือ “อบุลกอสิม อัสสะมัรก็อนดีย์” หรือชื่อเต็มคือ “อิสมาอีล บินอะหมัด บินอุมัร บินอบิลอัชอัษ อัสสะมัรก็อนดีย์”
เป็นผู้รู้ที่รายงานหะดีษเป็นจำนวนมาก, มีความน่าเชื่อถือ และมีสมุดบันทึกและหนังสือมากมาย อุมัร อัลบุสฏอมีย์กล่าวว่า “อบุลกอสิม คืออาจารย์นักรายงานหะดีษแห่งแคว้นคุรอซานและอิรัก”
วันที่ 3 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.11 ตรงกับวันที่ 21 พฤศจิกายน ปี ค.ศ.632 คือวันเสียชีวิตของท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ ลูกสาวของท่านนบีมุฮัมหมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม
เธอคือภรรยาของท่านอลี บินอบีฏอลิบ และเป็นคุณแม่ ของท่านอัลหะสันและอัลหุสัยนฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุม และเธอคือผู้นำของผู้หญิงชาวสวรรค์
ตามทัศนะที่แพร่หลายที่สุด ท่านหญิงฟาฏิมะฮฺเสียชีวิตภายหลังการจากไปของท่านนบีมุฮัมหมัดประมาณ 6 เดือน
ชาวมุสลิมที่แอฟริกาเหนือต้องเผชิญกับการโจมตีของชาวโรมันและชาวเบอเบอร์ในคราวเดียวกัน ราชินีกาฮินะฮฺของชาวเบอเบอร์ในตอนนั้นได้รวบรวมกำลังพลเข้าต่อสู้กับชาวมุสลิมนานหลายปี
กระทั่งเคาะลีฟะฮฺอับดุลมะลิก บินมัรวาน ได้ส่งแม่ทัพหัสสาน บินอันนุอฺมาน พร้อมกองทัพกว่า 40,000 คน เข้าต่อสู้ที่บริเวณเทือกเขาอัลเอาร็อส และเอาชนะมาได้สำเร็จในวันที่ 2 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.82 ตรงกับปี ค.ศ.701
วันอาทิตย์ ที่ 1 เดือนเราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.2 ตรงกับวันที่ 26 เดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ.624 คือเดือนเราะมะฎอนแรกที่ชาวมุสลิมเริ่มถือศีลอด
บางรายงานระบุว่า ท่านนบีมุฮัมหมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม เริ่มประกาศให้ชาวมุสลิมถือศีลอดเราะมะฎอนครั้งแรก ในวันจันทร์ ที่ 1 เดือนชะอฺบาน ปี ฮ.ศ.2 (คือ ล่วงหน้า 1 เดือน)
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 29 : อัลอันกะบูต
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 28 : อัลเกาะศ็อศ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 27 : อันนัมลฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 26 : อัชชุอะรออ์
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 25 : อัลฟุรกอน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 24 : อันนูร
:: อิสรออ์ มิอฺร็อจญ์ : การเดินทางสู่ฟากฟ้าของท่านนบีมุฮัมหมัด ::
เกิดขึ้นหลังจาก “ปีแห่งความโศกเศร้า” (ปีที่ 10 ของการเป็นนบี) คือ หลังจากที่ชาวมุสลิมถูกกดขี่ข่มเหงอย่างหนัก แล้วอบูฏอลิบ คุณลุงของท่านนบี และท่านหญิงเคาะดีญะฮฺ ภรรยาสุดที่รักของท่าน ก็จากไปในเวลาไล่เลี่ยกัน อีกทั้งชาวฏออิฟก็ปฏิเสธการเชิญชวนสู่อิสลาม แต่เกิดก่อน “ปีแห่งการอพยพ” (ปีที่ 14 ของการเป็นนบี) ประมาณ 1-2 ปี นักวิชาการมีความเห็นแตกต่างกัน
โดยท่านนบีเดินทางจากมัสญิดอัลหะรอม (มักกะฮฺ) ไปยังมัสญิดอัลอักศอ (บัยตุลมักดิส) ระยะทางกว่า 1,240 กิโลเมตร และเดินทางต่อจากมัสญิดอัลอักศอ ผ่านท้องฟ้าทั้ง 7 ชั้น ไปยังสิดเราะตุล มุนตะฮา ซึ่งไม่อาจทราบระยะทางที่แท้จริงได้ โดยมีญิบรีลเป็นผู้นำทางไป แล้วกลับมายังเมืองมักกะฮฺภายในคืนเดียว
ท่านนบีรับบัญญัติการละหมาด 50 เวลา/วัน จากอัลลอฮฺโดยตรง ท่านได้ขอให้พระองค์ช่วยลดจำนวนเวลาลงตามคำแนะนำของนบีมูซา จนกระทั่งเหลือเพียง 5 เวลา/วัน (คือ ละหมาดฟัรฎูในตอนนี้) แต่ผลบุญที่จะได้รับยังคงเท่ากับ 50 เวลาเหมือนเดิม
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 23 : อัลมุอ์มินูน
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 22 : อัลหัจญ์
นี่คือเศาะหาบะฮฺเพียงคนเดียวที่มีชื่อระบุไว้ในอัลกุรอาน ท่านถูกเรียกว่า “ที่รักของท่านเราะสูลุลลอฮฺ” เป็นเศาะหาบะฮฺที่มีศักดิ์เป็นลูกชายของท่านบี ก่อนที่อิสลามจะยกเลิกระบบลูกบุญธรรมไป และเป็นแม่ทัพคนแรกที่เสียชีวิตเป็นชะฮีดในสมรภูมิมุอ์ตะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 21 : อัลอัมบิยาอ์
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 19 : มัรยัม
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 18 : อัลกะฮฟฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 17 : อัลอิสรออ์
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 16 : อันนะหลฺ
นี่คือหนึ่งในเศาะหาบิยยะฮฺที่น้อมรับอิสลามเป็นคนแรก ๆ ระยะเวลาการเป็นมุสลิมของเธอถือว่าสั้นมาก แต่สถานภาพของเธอ ณ อัลลอฮฺนั้นสูงส่งยิ่งนัก เธอและครอบครัวถูกทดสอบอย่างหนัก แต่อดทนและเชื่อมั่นในคำสัญญาของท่านเราะสูล กระทั่งในที่สุดเธอได้กลายเป็น “มุสลิมคนแรกที่ตายชะฮีดเพื่ออิสลาม”
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 15 : อัลหิจรฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 14 : อิบรอฮีม
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 13 : อัรเราะอฺดฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 9 : อัตเตาบะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 8 : อัลอันฟาล
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 7 : อัลอะอฺร็อฟ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 6 : อัลอันอาม
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 5 : อัลมาอิดะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 4 : อันนิสาอ์
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 3 : อาลิอิมรอน
นี่คือเศาะหาบะฮฺชาวมุฮาญิรีนที่น่าเกรงขามที่สุด ทั้งในสายตาของมิตรและศัตรู ท่านมีศักดิ์เป็นลุงของท่านนบี และเป็นพี่น้องร่วมน้ำนมกับท่านด้วย ท่านคอยอยู่เคียงข้างเพื่อปกป้องท่านนบีเสมอ
เดือนเชาวาล ปี ฮ.ศ.2
หลังจากสงครามบัดรฺ ยิวบนีก็อยนุกออฺได้แสดงความเกลียดชังและเคียดแค้น ต่อชาวมุสลิมอย่างชัดเจนและมากยิ่งขึ้น พวกเขาดูถูกดูแคลนชาวมุสลิม ยุแหย่ให้มีปัญหากัน กลั่นแกล้งและทำร้ายร่างกาย ประกาศศึกกับท่านนบี กระทั่งเกิดการสังหารชาวมุสลิม ท่านนบีจึงยกทัพบุกไปถึงที่มั่นของพวกเขา
นี่คือเศาะหาบะฮฺชาวอันศอรที่เฉลียวฉลาดมากที่สุดคนหนึ่ง เป็นเศาะหาบะฮฺรุ่นเล็กที่มีความมุ่งมั่นสูงในการศึกษาเรียนรู้และการต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮฺ เป็นหนึ่งในผู้จดบันทึกวะหฺยู เลขา และล่ามส่วนตัวของท่านเราะสูลุลลอฮฺ
ในหลายศึกสงคราม แม้ชาวมุสลิมจะมีจำนวนน้อยกว่า อาวุธยุทโธปกรณ์ก็ไม่เพรียบพร้อม แต่ด้วยศรัทธาที่แรงกล้า การเตรียมพร้อมสุดกำลังความสามารถ และการดิ้นรนต่อสู้อย่างไม่ย่อท้อ อัลลอฮฺจึงช่วยเหลือและให้พวกเขาเอาชนะศัตรูมาได้ในที่สุด
كَم مِّن فِئَةٍ قَلِيلَةٍ غَلَبَتْ فِئَةً كَثِيرَةً بِإِذْنِ اللَّهِ وَاللَّهُ مَعَ الصَّابِرِينَ
กี่มากน้อยแล้วที่คนกลุ่มน้อยเอาชนะคนกลุ่มมากได้ ด้วยอนุมัติของอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺทรงอยู่กับผู้ที่อดทน (อัลบะเกาะเราะฮฺ 2 : 249)
วันที่ 7 เชาวาล ปี ฮ.ศ.3
กองทัพของชาวมุชริกีนที่นำโดย อบูสุฟยาน บินหัรบฺ ได้เคลื่อนทัพมาเพื่อโจมตีชาวมุสลิมถึงเมืองมะดีนะฮฺ (คือ ที่บริเวณภูเขาอุหุด) เป็นการล้างแค้นให้กับความพ่ายแพ้ของพวกเขาในสงครามบัดรฺ (ในปี ฮ.ศ.2) ที่ผ่านมา
นี่คือเศาะหาบะฮฺหนุ่มที่มีความเพียบพร้อมที่สุดในเมืองมักกะฮฺ เขาทั้งหล่อเหลา ตระกูลดี และร่ำรวย แต่เมื่ออิสลามมามาถึงและความศรัทธาได้เข้าไปฝังรากลึกในหัวใจ มุศอับก็ได้ขายโลกดุนยานี้ทั้งหมดเพื่อความผาสุกในโลกอาคิเราะฮฺ
วันที่ 17 เราะมะฎอน ปี ฮ.ศ.2
เป็นสงครามแรกในอิสลาม หลังจากที่ชาวมุสลิมต้องประสบกับความทุกข์ยากลำบาก จนต้องละทิ้งแผ่นดิน บ้านเรือน ทรัพย์สมบัติ หรือแม้กระทั่งครอบครัวของตนเอง ท่านเราะสูลุลลอฮฺตัดสินใจเข้าโจมตีกองคาราวานของชาวกุร็อยชฺที่มาจากแผ่นดินชาม ซึ่งนำโดยอบูสุฟยาน กระทั่งอัลลอฮฺประสงค์ให้เกิดเป็นสงครามบัดรฺ (อัลกุบรอ) เพื่อให้สัจธรรมมีชัยเหนือความเท็จ
18 เศาะฟัร ฮ.ศ.658 : มองโกลยึดดะมัสกัส
14 เศาะฟัร ฮ.ศ.16 : พิชิตเมืองอัลมะดาอิน
เป็นแนวคิดจากสุลต่านอับดุลหะมีดที่ 2 แห่งคิลาฟะฮฺอุษมานียะฮฺ ที่ต้องการรวมประชาชาติอิสลามให้เป็นหนึ่งเดียวกัน ก่อนที่จะมีเส้นทางรถไฟสายนี้ที่ทอดยาวมาจากดะมัสกัสไปยังมะดีนะฮฺ จำนวนผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ต่อปีประมาณ 80,000 คนเท่านั้น แต่เมื่อเส้นทางรถไฟสายนี้เริ่มเปิดใช้งาน จำนวนฮุจญาจญ์ก็พุ่งสูงขึ้นเป็น 300,000 คน/ปี เลยทีเดียว
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 2 : อัลบะเกาะเราะฮฺ
สรุปภาพรวมสูเราะฮฺที่ 1 : อัลฟาติหะฮฺ